(1) ลักษณะที่ตั้ง

เทศบาลตำบลคำเขื่อนแก้ว ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดยโสธร ห่างจากตัวจังหวัดเป็นระยะทางประมาณ 23 กิโลเมตร

(2) อาณาเขต

ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลุมพุก

ทิศใต้ ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลุมพุก

ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลุมพุก

ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลุมพุก

 

3) พื้นที่ เทศบาลตำบลคำเขื่อนแก้ว มีพื้นที่ประมาณ 1.25 ตร. กม. หรือประมาณ 781.25 ไร่

(4) ลักษณะภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย ไม่อุ้มน้ำ

(5) ลักษณะภูมิอากาศ เป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู

ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม

ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ เดือนมิถุนายน – เดือนตุลาคม

ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์

(6) ประชากร จำนวน 1,379 ครัวเรือน (หมู่ 1 = 516 คร. , หมู่ 2 = 862 คร.)

ประชากรทั้งหมด 4 ,313 คน ( ชาย 2,132 คน , หญิง 2,181 คน)

หมู่ที่ 1 (เฉพาะในเขตเทศบาลฯ) 1 ,690 คน (ชาย 848 คน , หญิง 842 คน )

หมู่ที่ 2 (เฉพาะในเขตเทศบาลฯ) 2,623 คน (ชาย 1,284 คน , หญิง 1,339 คน)

ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ 3 ,450 คน / ตร. กม. (ข้อมูล ณ 31 มกราคม 2555)

ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

(1) การคมนาคม มีรถยนต์วิ่งให้บริการรับส่งผู้โดยสารทุกชั่วโมง มีเส้นทางที่สามารถ ติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้

- ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 23 ถนนแจ้งสนิท ทางทิศตะวันตกเชื่อมระหว่าง เทศบาลฯ กับจังหวัดยโสธร

ทางทิศตะวันออกเชื่อมกับอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

- ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 2083 เชื่อมระหว่างเทศบาลฯ กับอำเภอมหาชนะชัย

- ทางหลวงชนบทเส้นทาง รพช. เชื่อมระหว่างเทศบาลฯ กับตำบลศรีฐาน อำเภอป่าติ้ว

- เส้นทางภายในเขตเทศบาล ความยาวรวมทั้งหมด 11.156 กม. แยกเป็น - ถนน คสล. ความยาวรวม 9.256 กม.

- ถนนลาดยาง ความยาวรวม 1.6 กม.

แผนพัฒนา

- อื่น ๆ ( ถนนลูกรัง) ความยาวรวม 0.300 กม.

แผนอัตรากำลัง ๓ ปี

(2) การไฟฟ้า ใช้ไฟฟ้าจากบริการของสำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอคำเขื่อนแก้วกระแสไฟฟ้าที่จำหน่ายออกไปส่วนใหญ่

แผนจัดซื้อจัดจ้าง

จำหน่ายให้ประชาชนเพื่อใช้ในที่อยู่อาศัยประชาชนมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน

แผนดำเนินงาน

(3) การประปา ใช้น้ำประปาจากบริการของสำนักงานการปาระปาส่วนภูมิภาคอำเภอมหาชนะชัย ซึ่งใช้แหล่งน้ำดิบจากลำน้ำชี

แผนการจัดหาพัสดุ

(4) การสื่อสารและโทรคมนาคม

แผนป้องกันการทุจริต

- มีที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข 1 แห่ง

เทศบัญญัติงบประมาณ

- มีตู้โทรศัพท์สาธารณะบริการ 14 ตู้

ระบบควบคุมภายใน

- มีโทรศัพท์คู่สายประมาณ 500 เลขหมาย

- มีระบบเสียงตามสายหรือหอกระจายข่าวครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของเทศบาล ฯ

ผลงานและกิจกรรม

(5) ลักษณะการใช้ที่ดิน

รายงานติดตามผลแผนพัฒนา

- พื้นที่พักอาศัย ประมาณ 510 ไร่

รายงานกิจการ

- พื้นที่พาณิชยกรรม ประมาณ 44.55 ไร่

รายงานการเงิน

- พื้นที่ตั้งหน่วยงานภาครัฐ ประมาณ 43 ไร่

รายงานผลการปฏิบัติงาน

- พื้นที่เกษตรกรรม ประมาณ 10 ไร่

รายงานการประชุมสภา

- พื้นที่สวนสาธารณะ / นันทนาการ ประมาณ 3.7 ไร่

- พื้นที่ตั้งสถานศึกษา ประมาณ 50 ไร่

ข่าวประชาสัมพันธ์

- พื้นที่ว่างเปล่าและอื่น ๆ ประมาณ 120 ไร่

คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน  
คู่มือสำหรับประชาชน

ด้านเศรษฐกิจ

 
แบบคำร้องต่างๆ

(1) โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม รับจ้างทั่วไป ค้าขายและรับราชการ

ข้อมูลสถิติการให้บริการ

(2) การเกษตรกรรม ลักษณะการประกอบการเกษตรกรรมอาศัยน้ำฝนจากธรรมชาติ มีการปลูกพืชที่สำคัญ คือ ข้าว และพืชผัก

ประกาศจัดซื้อ-จัดจ้าง

(4) การศึกษา ในเขตเทศบาลตำบลคำเขื่อนแก้ว มีสถาบันการศึกษาของอยู่จำนวน 5 แห่ง คือ

การจัดการองค์ความรู้

รัฐบาล 4 แห่ง

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคำเขื่อนแก้ว เป็นโรงเรียนระดับอนุบาล

- โรงเรียนคำเขื่อนแก้ว เป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา

- โรงเรียนอนุบาลลุมพุก ( วันครู 2503) เป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา

- โรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา

เอกชน จำนวน 1 แห่ง

- โรงเรียนอนุบาลแก้วปัญญาอุปถัมภ์ เป็นโรงเรียนระดับอนุบาล

ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนทั้งสี่แห่งสามารถรองรับและให้บริการทางการศึกษาแก่ชุมชนได้อย่างเพียงพอ รวมทั้งมีศูนย์การเรียนชุมชน จำนวน 2 แห่ง

(ตั้งอยู่ที่ศาลาประชาคมบ้านลุมพุก หมู่ที่1,2)ที่สามารถให้บริการทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไป

(5) กีฬา นันทนาการ / การพักผ่อนหย่อนใจ

- สนามบาสเก็ตบอล จำนวน 3 แห่ง

- สนามฟุตบอล จำนวน 3 แห่ง

- สนามกีฬาชุมชน จำนวน 2 แห่ง

- สนามเทนนิส จำนวน 1 แห่ง

- สนามตะกร้อ จำนวน 5 แห่ง

- สนามเด็กเล่น จำนวน 1 แห่ง

- สวนสาธารณะ จำนวน 1 แห่ง

- ห้องสมุดประชาชน จำนวน 1 แห่ง

(6) สาธารณสุข

- มีโรงพยาบาล 1 แห่ง คือ โรงพยาบาลคำเขื่อนแก้ว เป็นโรงพยาบาล ขนาด 60 เตียง

 

- สำนักงานสาธารณสุข จำนวน 1 แห่ง

- สถานพยาบาลเอกชน จำนวน 4 แห่ง

- ร้านเภสัชกร จำนวน 4 แห่ง

- อัตราการใช้ส้วมและมีส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100

(7) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

- สถิติเพลิงไหม้ในรอบปีที่ผ่านมา 3 ครั้ง

- พนักงานดับเพลิง จำนวน 10 คน

- ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากเพลิงไหม้ในรอบปีที่ผ่านมาประมาณ 200,000 บาท

- รถบรรทุกน้ำดับเพลิงเอนกประสงค์ จำนวน 3 คัน

- อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน จำนวน 50 คน

- การฝึกซ้อมบรรเทาสาธารณภัยในปีที่ผ่านมา 1 ครั้ง

- ออกระงับเหตุเพลิงไหม้ในเขตและนอกเขตเทศบาล 5 ครั้ง

- การเตรียมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีการเตรียมพร้อมตลอด 24 ชั่วโมง

-หมายเลขโทรศัพท์รับแจ้งเหตุ 0-4579-1199

(8) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(1) ขยะมูลฝอย

- ปริมาณขยะ 6 ตัน/ วัน

- รถยนต์บรรทุกขยะ(แบบอัดท้าย) 3 คัน

- พนักงานเก็บ ขน และกวาดขยะมูลฝอย จำนวน 6 คน

- ถังรองรับขยะมูลฝอย 500 ใบ

- ขยะที่เก็บขนได้ 6 ตัน/ วัน

- ที่ดินสำหรับทิ้งขยะ ปัจจุบันขอใช้ที่ดินสำหรับกำจัดขยะร่วมกับเทศบาลเมืองยโสธร

(9) ทรัพยากรแหล่งน้ำ

- ในเขตเทศบาลไม่มีแหล่งน้ำ

(10) ทรัพยากรป่าไม้

- ในเขตเทศบาลไม่มีพื้นที่ป่าไม้

(11) สภาพแวดล้อม ในเขตเทศบาลที่เกิดขึ้นโดยทั่วไป

- ปัญหาฝุ่นละออง ปัญหาการท่วมขังของน้ำเสีย ปัญหาขยะมูลฝอย เป็นต้น